แพทย์เ ตือน อย่ าใช้ฟ้าทะลายโ จรร่วมกับฟาวิพิราเวียร์

นายเกรียงศักดิ์ ขาวเนียม ผอ.ฝ่ายวิจัยและพัฒนา บจก.สยามไพรพัฒนาผู้วิจัยและผลิต ฟ้าทะลายโจรขนาดนาโนที่ทำให้ส ารแอนโดรกราโฟไลด์ (andrographolide) สามารถละลายน้ำได้ 100% และนายนิวัฒน์ จุมวงษ์ กรร มการผู้จัดการ บจก.เมดิคอล เทลลิเจ้นซ์ ที่สนับสนุนการขับเคลื่อนโครงการวิจัยทางคลินิกเพื่อนำตำรับย าฟ้าทะลายโจ รขนาดนาโน จากพืชฟ้าทะลายโ จรชนิดพ่นเข้าปอ ดรักษาภาวะปอ ดอักเส บจากเชื้ อไวรั สโควิ ด

ซึ่งขณะนี้ได้ทำการวิจัยในผู้ป่ว ยโควิ ดที่ติดบ้านเนื่องจากไม่สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพย าบาลได้กว่า 100 ราย ที่อยู่ในสถานะสีเขียว สีเหลือง มีผลการรักษาดีทุกราย ส่วนผู้ป่ วยสีแดงที่มีภาวะปอ ดอักเส บ ความเข้มข้นของออกซิเจนต่ำกว่าร้อยละ 95 จำนวนกว่า 20 ราย ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน

คณะผู้วิจัย ได้พบปัญหาแทรกซ้อนที่น่าสนใจคือ ผู้ป่ว ยจำนวนหนึ่งที่ได้รับย าฟ้าทะลายโ จรนาโนร่วมกับย าฟาวิพิราเวียร์ มีอาการคลื่นไ ส้อาเจียนรุนแ รง และกลับทำให้อาการทางปอ ดแ ย่ลง เมื่อหยุดย าฟาวิพิราเวียร์ จึงมีอาการดีขึ้นและภาวะป อดอักเส บทุเลาลงใน 5 วัน 

การใช้ย าร่วมกันระหว่างฟาวิพิราเวียร์กับฟ้าทะลายโ จรเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นทั่วไปทั้งในโรงพย าบาลสนามและที่บ้าน (home isolation) แต่ผลข้างเคียงอาจจะไม่พบมากนัก 

ทั้งนี้ เนื่องจากการใช้ฟ้าทะลายโ จรชนิดกินทั่วไป ไม่ละลายน้ำและดูดซึมน้อยกว่าร้อยละ 5 แตกต่างจากฟ้าทะลายโจ รขนาดนาโน ซึ่งมีสา รแอนโดรกราโฟไลด์ที่ละลายน้ำและดูดซึมได้ดีกว่ามาก ทำให้มีระดับย าสูงและทำให้ปฏิกริย าต่อกันกับย าฟาวิพิราเวียร์ แสดงออกชัดเจน

คณะผู้วิจัยจึงสืบค้นข้อมูลที่อาจเป็นสาเห ตุของภาวะแทรกซ้อน พบว่า เอนไซม์ในตั บ ซึ่งมีหน้าที่เปลี่ยนแปลงส ารเ คมีหลายชนิดเพื่อการทำลา ยพิ ษของย าหรือส ารเ คมีอาจจะถูกยับยั้งโดยสา รแอนโดรกราโฟไลด์ที่มีอยู่ในย าฟ้าทะลา ยโจ ร ซึ่งจะส่งผลให้ระดับย าฟาวิพิราเวียร์ คั่งค้างสูงผิ ดปกติ จนระดับย าส่วนเกินเพิ่มสูงในกระแสเลื อดมากกว่าที่ควรจะเป็น เป็นเห ตุให้เกิดอาการคลื่นไ ส้อาเจียนอย่างรุนแ รง อย่างไรก็ตามกลไกของการทำให้มีปฏิกิริย าต่อกันของย าทั้งคู่เป็นข้อมูลเบื้องต้นเท่านั้น

ผู้วิจัยต้องการแจ้งเตื อนต่อผู้ป่ว ยและแพทย์ที่มีการใช้ย าคู่เพื่อความมุ่งหวังผลช่วยเหลือการรักษา อาจเป็นอันตรา ยต่อผู้ป่ วยและไม่แนะนำให้มีการใช้ย าฟ้าทะลายโจ รร่วมกับย าฟาวิพิราเวียร์เพื่อการรักษาโควิ ด

นอกจากนี้สมุนไพรที่ใช้กันมาก เช่น ขมิ้น (curcumin) หรือพืชตระกูลขิง ก็มีฤท ธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ ที่อาจส่งผลให้ระดับย าฟาราพิราเวียร์สูงกว่าที่ควรที่จะเป็นด้วย คณะผู้วิจัยจึงไม่แนะนำให้ใช้สมุนไพรดังกล่าว ร่วมกับย าฟาวิพิราเวียร์ แต่อาจใช้ในภายหลังเพื่อผลการป้องกันการติดเชื้ อในอนาคต การใช้ย าลักษณะหลายชนิดหรือ cocktail treatment จึงควรมีการศึกษาปฏิกิริย าต่อกันของยาหรือที่เรียกเป็นทางการว่าอันตรกิริย าระหว่างย าอย่างถี่ถ้วนก่อนจะนำมาให้กับผู้ป่ว ย

 

ข้อมูลข่าวและที่มา : สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

21 ÷ = 3

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า