เ ตือนไวรั สระบ าดหนักกว่าโ ควิ ด เคสหนักนอนไอซียู

เ ตือนไวรั สระบ าดหนักกว่าโ ควิ ด เคสหนักนอนไอซียู

เพจ Infectious ง่ายนิดเดียว รายงานว่า ปัจจุบันมีผู้ป่ วยโร คอาร์เอสวี (RSV) ระบา ดหนักกว่าโ ควิ ด ความว่า ระบา ดหนักกว่าโควิ ด ก็อาร์เอสวี อาการหนั ก ระบา ดหนัก ช่วงนี้ คนไ ข้เด็ กทั่วประเทศทั้งรพ.รัฐ เอกชน คลินิก รพ.สต. ป่ว ยด้วย ไ ข้หวัด หลอดลมอักเส บ ปอ ดอักเส บจาก เชื้ อไวรั ส RSV (อาร์เอสวี) เยอะมากๆ แน่นทุก รพ. อาการ ไ ข้ ไอ เ สมหะ น้ำมู ก บางรายอาการหนักมี หอบเหนื่อย หายใ จมีเสียงหวีด

สำหรับ หลักการมี 3 S Swelling หลอดลมบวม ตีบแคบ ทำให้หายใ จหอบเหนื่อย ลมเข้าปอ ดได้ แต่ออกลำบา ก เด็ กจึงต้องหายใ จเร็วและแ รง ใช้กล้ามเนื้ อกระบังลมช่วยหายใ จ

Spasm หลอดลมไวและตีบได้ ไวต่อสิ่งกระตุ้ น และ Secretion ส ารคัดห ลั่งในหลอดลมมาก และอุดหลุดลม หายใ จลำบา ก ต้องดูดเ สมหะช่วย บางรายรุนแ รง เขียว หายใ จล้มเหลว ต้องให้ออกซิเจนหรือใส่ท่อช่วยหายใ จใน icu

กลุ่มเสี่ย ง เด็ กเล็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ยิ่งอายุน้อยยิ่งรุนแรง คลอดก่อนกำหนด มีโ รคประจำตัว เช่น ปอ ด หั วใ จ

สำหรับ การรักษา ตามอาการ ไ ม่มีย าต้ านไวรั สเฉพาะ ทั้งกินและฉี ด ไ ม่มีวั คซีน

การรักษาคือ พ่นย า ดู ดเส มหะ ให้ออกซิเจน ให้สา รน้ำ ย าลดไ ข้

การพย ากรณ์โร ค มีตั้งแต่ไ ม่รุนแ รง หวัด ไอ น้ำมูก จนไปถึง ปอ ดอักเส บ หายใ จล้มเหลว ไวรัสตัวนี้ หายดีแล้ว มีโอกาสเป็นซ้ำ ร่วมกับถ้ามีประวัติภูมิแ พ้ในครอบครัว พ่อหรือแม่ อนาคต เด็ กอาจจะเป็นโร คหอ บหื ดตามมาได้

การป้องกัน ที่พอจะช่วยได้

1) หลีกเลี่ยงไปชุมชนคนเยอะหรือ เลี่ยงการอยู่ใกล้ผู้ใหญ่ และเด็กที่ป่ วย ถ้าป่ว ยต้องอยู่บ้าน หยุดเรียน พบแพทย์

2) วัคซี นโ รคอื่นๆ ที่ป้องกันพบร่วมได้ เช่น ไข้หวัดใหญ่ วัคซีนไอพีดี เป็นทางเลือกสามารถฉี ดได้

3) รักษาความอบอุ่นของร่างกาย ช่วงนี้อาการเย็น หนาว ไวรั สชอบ

4) คนมีโร คประจำตัว เช่น หอบหืด โร คหัวใ จ โอกาสติด RSV แล้วอาการรุนแร งกว่าเด็ กทั่วไป ต้องระวั ง อย่ าขาดย าประจำ ป่ วยรีบมาพบแพทย์

5) ล้างมือ สวมหน้ากาก รักษาระยะห่าง ป้องกัน RSV ไ ข้หวัดใหญ่ ปอ ดอักเส บได้ มาตรการเดียวกับป้องกันโ รคโ ควิ ด

สำหรับ โรคอาร์เอสวี (RSV) ชื่อเต็มว่า Respiratory syncytial virus เป็นเ ชื้อไวรั ส ที่เป็นสาเห ตุของไ ข้หวัดหลอดลมอักเสบ ซึ่งพบมากในเด็ กทุกกลุ่มอายุ

ส่วนมาก อาการไ ม่รุนแ รง มักหายป่ วยภายใน 1-2 สัปดาห์ แต่อาจจะพบว่า มีอาการรุนแ รงได้ในเด็ กเล็กโดยเฉพาะถ้าเป็นเด็ กอายุน้อยกว่า 1 ปี

ที่มา ข่าวส ด

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

− 5 = 4

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า