6 อาชีพ ที่ เ สี่ ย ง ตกงานในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า

 6 อาชีพ ที่ เ สี่ ย ง ตกงานในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า

ปัญหาสู่ภาคแรงงานที่หากไม่เก่ง ไม่เจ๋งจริง โอกาสตกงานมีสูงมาก จึงนำมาสู่คาดการณ์ อาชีพที่ในอีก 6 ปีหรือไม่เกิน 10 ปีนับจากนี้คิดว่าน่าจะเหลือน้อยมากหรือบางทีอาจจะหายและกลายเป็น อาชีพที่เคยมีในอดีตเท่านั้น

ประกอบกับเทคโนโลยีเองก็มีการพัฒนามากขึ้นด้วย จึงเป็นปัญหาสู่ภาคแรงงานที่หากไม่เก่ง ไม่เจ๋งจริง โอกาสตกงานมีสูงมาก จึงนำมาสู่คาดการณ์ อาชีพที่ในอีก 3 ปีหรือไม่เกิน 10 ปีนับจากนี้คิดว่าน่าจะเหลือน้อยมากหรือบางทีอาจจะหายและกลายเป็น อาชีพที่เคยมีในอดีตเท่านั้น

1.พนักงานธนาคาร

Wells Fargo & Co รายงานว่า พนักงานธนาคารในสหรัฐอเมริกาจะตกงานจำนวนกว่า 200,000 ตำแหน่งในช่วง 10 ปีหลังจากนี้ โดยสาเหตุหลักมาจากเทคโนโลยีที่ก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อยๆ สอดคล้องกับคำทำนายของอดีตผู้บริหาร Citigroup ที่เคยบอกไว้ว่าในระหว่างปี 2015 – 2025 พนักงานแบงค์ในสหรัฐอเมริกาและยุโรปจะตกงานรวมกันถึงเกือบ 2 ล้านตำแหน่ง หรืออีกหนึ่งรายงานที่ระบุว่า พนักงานธนาคารรวมถึงสายเทรดหุ้นอาจตกงานถึง 1.3 ล้านคนภายใน 10 ปี พนักงานคอลเซ็นเตอร์

2.คนส่งหนังสือพิมพ์

ไม่ใช่ หนังสือหรือธุรกิจสิ่งพิมพ์ที่น่าเป็นห่วงแต่กลุ่มคนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากเ รื่ อ งนี้ก็คือ พนักงานส่งหนังสือพิมพ์ หรือที่เรียกกันในภาษาอังกฤษว่า ‘paperboy’ การหายไปของหนังสือพิมพ์หลายเจ้าทำให้คนที่เคยทำอาชีพนี้ต้องตกงานไปตามๆกัน

คนยุคใหม่อ่ า นหนังสือพิมพ์น้อยลง รับหนังสือพิมพ์น้อยลง แม้แต่ตามแผงหนังสือก็ยังแทบไม่เห็นหนังสือพิมพ์วางขาย ต่างจากในอดีตอย่างชัดเจน อันเป็นผลมาจากการติดตามข่าวในออนไลน์ผ่านสมาร์ทโฟนที่รวดเร็ว ทันทีทันใด ได้ทุกที่ทุกเวลา อาชีพคนส่งหนังสือพิมพ์จึงน่าจะหายไปจากสังคมไทยในอีกไม่นาน

3.พนักงานโรงงาน (สายการผลิต)

จากเดิมที่คาดว่าจะมีการใช้หุ่นยนต์เข้ามาทดแทนแรงงานมนุษย์มากขึ้น ก็สร้าวความกังวลในระดับหนึ่ง แต่ ณ ตอนนั้นคาดว่าเทคโนโลยีต้องใช้เวลาในการพัฒนาตัวเองอีกระยะหลายคนจึงวางใจ แต่เมื่อมีการแพร่ระบาดของ C OVI D-19 เข้ามา กิจการหลายแห่งหยุดชะงัก คนตกงานกันจำนวนมาก และแม้จะฟื้นฟูกลับมาแต่ผู้ประกอบการหลายคนก็เริ่มมองช่องทางในการลดต้นทุนให้มากที่สุด

นำไปสู่การใช้เทคโนโลยีแทนแรงงานคนที่เริ่มชัดเจนมากขึ้น ซึ่งคาดว่าอาชีพพนักงานโรงงานในฝ่ายการผลิตจะเริ่มมีอัตราการจ้างงานที่น้อยลง ยิ่งในอนาคตมีเทคโนโลยีที่ดีขึ้น ยิ่งกระตุ้นให้เจ้าของกิจการหันไปพึ่งพาเทคโนโลยีมากขึ้น แรงงานภาคการผลิตเหล่านี้จะกลายเป็นผู้ว่างงาน ตกงาน และบางส่วนจะหันไปสู่ภาคการเกษตรหรือหาอาชีพอื่นๆทดแทนมากขึ้น

4.นักข่าวภาคสนาม

การเป็นนักข่าวภาคสนามคือการลงพื้นที่หาข่าว หารายละเอียดของข่าว รายงานจากพื้นที่จริงๆ ส่งตรงมายังห้องข่าว แต่ทุกวันนี้เราจะเห็นตามโทรทัศน์ว่าข่าวที่ได้ส่วนใหญ่มาจากในเฟสบุ๊ค หรือมีคนส่งภาพข่าวเข้ามา ทำให้บทบาทหน้าที่ของนักข่าวภาคสนามดูลดน้อยลงไปมาก ไม่นับรวมเ รื่ อ งเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่กำลังพัฒนาให้มีความสามารถในการเขียนข่าว

ซึ่งแม้จะดูเป็นเ รื่ อ งที่อาจจะไกลเกินไปและหลายคนคิดว่าน่าจะยังไม่ถึงขั้นนั้นแต่ในต่างประเทศ มีการใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในการเขียนข่าว อย่างข่าวกีฬา รวมถึงข่าวใหม่ๆกันบ้างแล้ว แถมยังพย าย ามใช้ AI สำหรับข่าวเกี่ยวกับการสืบสวนเชิงลึก และยังสามารถช่วยกรองข่าวสารให้กับมนุษย์ได้

จึงอาจเป็นสัญญาณที่ไม่สู้ดีนักสำหรับอาชีพนักข่าวที่ในอดีตเคยเฟื่องฟูและหลายคนสนใจถึงขนาดไป

สมัครเรียนในคณะที่เกี่ยวข้องเพื่อออกมาเป็นนักข่าว แต่ปัจจุบันแตกต่างและถือว่าเป็นอีกอาชีพที่ เ สี่ ย ง ตกงานและหายไป

5.บรรณารักษ์

บรรณารักษ์น่าจะเป็นอาชีพแรกที่ถูกกลืนกินไปในกระแสของเทคโนโลยี อันเนื่องจากการเข้ามาของ e-books ทำให้การเดินเข้าไปยืมหนังสือในห้องสมุดเริ่มเ สื่ อ มความนิยมลงเรื่อยๆ แม้ว่าปัจจุบันอุตสาหก ร ร มผลิตหนังสือจะยังมีอยู่ทั่วโลกแต่เรากลับพบว่า มีห้องสมุดสาธารณะหลายแห่งที่ต้องดิ้นรนเพื่อลดต้นทุน

และหาแหล่งเงินทุนใหม่ๆ มาช่วยซัพพอร์ตค่าใช้จ่ายในการเปิดให้บริการ ขณะเดียวกัน มหาวิทย าลัยหลายแห่งก็เริ่มลดการใช้หนังสือแบบเดิมไปเป็นการอัพโหลดข้อมูลลงในแพลตฟอร์มดิจิทัลแทน ทำให้อาชีพบรรณารักษ์อาจจะดูสั่นคลอนและไม่มั่นคงเท่ายุคก่อน และมีการคาดการณ์กันว่า ต่อไปโรงเรียนและมหาวิทย าลัยอาจจะค่อยๆ ทยอยปรับเปลี่ยนหนังสือไปใช้ e-books กันมากขึ้น

6.พนักงานแคชเชียร์

สังคมไร้เงินสดหรือ cashless society เป็นตัวกระตุ้นอย่างดีที่จะทำให้ “แคชเชียร์” หายไปจำนวนมาก ความเป็นไปได้ในเ รื่ อ งนี้ยิ่งชัดเจนเมื่อเราเห็นห้างสรรพสินค้าหลายแห่ง เริ่มมีการติดตั้งเครื่องชำระเงินด้วยตัวเอง ที่เอื้อให้ลูกค้าทุกคนชำระเงินผ่านแอพพลิเคชั่นได้อย่างสะดวกสบาย

ซึ่งเ รื่ อ งนี้กลายเป็นที่พูดถึงในห มู ่ผู้ประกอบการค้าปลีกรายย่อยหลายแห่งถึงความคุ้มค่าของการจ้างพนักงานเก็บเงินต่อไป แม้ในตอนนี้อาชีพแคชเชียร์เราจะยังเห็นได้ในห้างค้าปลีกต่างๆ นั่นก็เป็นเพราะ cashless society ยังเติบโตไม่สมบูรณ์แบบ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

4 + = 13

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า