เผย 4 โ ร คเ สี่ ย ง จาก ปล าร้า และวิธีกินให้ปลอดภัย

เผย 4 โ ร คเ สี่ ย ง จาก ปล าร้า และวิธีกินให้ปลอดภัย

1.พย าธิใบไม้ตับ

พย าธิใบไม้ตับ เป็นพย าธิใบไม้ชนิดหนึ่งที่ตัวแก่อาศัยอยู่ในท่อน้ำดีของคน สุนัขและแมว แต่สามารถพบ

ได้ในปลาดิบ เนื้อปลาร้าดิบ น้ำปลาร้าดิบ ลักษณะของพย าธิจะมีรูปร่ า งแบนคล้ายใบไม้ ส่วนหัวและท้ายเรียวมน ขนาดย าว 5-10 มิลลิเมตร กว้าง 0.7-1.5 มิลลิเมตร สีแดงเรื่อคล้ายสีโลหิตจาง

ผู้ป่ ว ยโ ร คพย าธิใบไม้ตับเมื่อเริ่มแสดงอาการ ผู้ป่ ว ยจะแน่นท้องที่ใต้ชายโครงขวา อาจจุกแน่นไปที่ใต้

ลิ้นปี่ อาการอื่น ได้แก่ เ บื่ ออาหาร ท้องอืด ตับโต ถ่ายเหลวเป็นบางครั้ง มีไข้ต่ำ มีอาการ “ออกร้อน” ในระยะท้ายของโ ร คผู้ป่ ว ยอาจมี ท่อน้ำดีอุดตัน เ กิ ดภาวะตัวเหลืองหรือดีซ่าน มีตับโตมาก คลำได้เป็น

ก้อนแข็ง ผิวขรุขระ ตับนุ่มอ่อน มีน้ำในช่องท้องและมีอาการบ ว มน้ำ ผู้ป่ ว ยอ่อนเพลีย น้ำหนักลด เมื่อม ะ เ ร็ งลุกลามไปยังอวัยวะระบบอื่น อาการจะทรุดหนักและเสียชี วิ ต

2.ม ะ เ ร็ งท่อน้ำดี

พย าธิใบไม้ตับ เมื่อเป็นหนัก ในระยะเวลานาน อาจ เ สี่ ย ง ม ะ เ ร็ งท่อน้ำดีได้ เนื่องจากพย าธิใบไม้ตับ

เป็นพย าธิชนิดเดียวในประเทศไทยที่องค์การอนามัยโลกยอมรับ และจัดให้เป็นเชื้อก่อม ะ เ ร็ ง นอกจากนี้ในปลาร้าดิบจะมีสารไนโตรซามีน ที่เป็นสารก่อม ะ เ ร็ งในร่ า งกายอีกด้วย

3.กล้ามเนื้ออ่อนแรง หรือเหน็บชา

โ ร คกล้ามเนื้ออ่อนแรง เ กิ ดจากการข า ดวิตามินบี 1 หรือภาวะเป็นโ ร คเหน็บชา ส่วนใหญ่มักมีอาการอ่อนแรงและชา ที่แขนและขา ปลายมือ ปลายเท้า บ ว ม แดง ส่วนการข า ดวิตามินบี 1 เ กิ ดจากการรับประทานอาหารที่มีวิตามินไม่เพียงพอ เช่น การรับประทานแต่ข้าวขาวที่ผ่านการขัดสี หรืออาหารที่มีสาร

ทำลายวิตามินบี 1 ได้แก่ ปลาน้ำจืดดิบ หอยลายดิบ ปลาร้า ใบชา ใบเมี่ยง หมากพลู ปลาส้มดิบ แหนมดิบ เป็นต้น

4.โ ร คไต

แน่นอนว่าปลาร้าเป็นแหล่งโปรตีนชั้นดีเทียบเท่าโปรตีนจากแหล่งอาหารอื่น นอกจากนี้ ยังมีสารอาหารอื่น เช่น ฟอสฟอรัส แคลเซียม วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 และวิตามินเค อีกด้วย แต่ปริมาณโซเดียมที่สูงจัดจาก

การปรุงรสด้วยเกลือจำนวนมาก และการปรุงรสด้วยปลาร้าในอาหารต่าง ก็เหมือนกับการใส่เครื่องปรุงรสมากเกินไป จึง เ สี่ ย ง ต่อการได้รับโซเดียมมากเกินความต้องการในแต่ละวัน จนอาจ เ สี่ ย ง โ ร คไตได้

วิธีรับประทานปลาร้าอย่างปลอดภัย

1.ต้มปลาร้าให้สุกก่อนรับประทานทุกครั้ง ทั้งเนื้อปลาร้า และน้ำปลาร้า

2.ไม่รับประทานปลาร้า และน้ำปลาร้ามากเกินไป

3.ดูแลรั กษ าสัตว์ที่เป็นแหล่งแพร่กระจายของพย าธิใบไม้ตับ คือ สุนัข แมว ฯลฯ (อาหารประเภท หอย 

ปลา กินแบบปรุงสุก) เพื่อกำจัดตัวอ่อน พย าธิใบไม้ในโฮส์กึ่งกลาง (อาหารทุกเมนูปรุงให้สุกด้วยความร้อน)

4.รับประทานปลาร้ากับผักชนิดต่าง เพื่อให้ได้คุณค่าทางสารอาหารมากยิ่งขึ้น

5.นำปลาร้าไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหารต่าง เช่น ปลาร้าบอง ปลาร้าสับ ฯลฯ ก่อนรับประทาน

ขอบคุณ

ข้อมูล :สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยภูมิ,คู่มือรู้ทันโ ร คและภัยสุขภาพสำหรับประชาชน โดยสำนักสื่อสารความ เ สี่ ย ง และพัฒนาพฤติก ร ร มสุขภาพ กรมควบคุมโ ร ค กระทรวงสาธารณสุข,กรมควบคุมโ ร ค กระทรวงสาธารณสุข

 

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

+ 68 = 69

Back To Top

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า